วันอังคารที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2560

การศึกษาพระรอด

เขาว่าพระรอดเป็นพระเครื่องที่เก่าแก่ที่สุดและพระคงก็เป็นพระเครื่องที่สร้างในยุคเดียวกัน/อายุพันปีขึ้น
ดังนั้นถ้าอยากได้พระรอดแท้ๆก็ต้องดูเนื้อพระคงมาเปรียบเทียบกันถ้าเนื้อไม่เหมือนกันก็ไม่น่าใช่พระแท้

พระเครื่องทั้งสองชนิดมีพุทธศิลปที่สวยงามในการออกแบบสร้างทั้งนี้เพราะคนทางเหนือมีศิลปการออกแบบพระที่สวยงาม/ละเอียดทั้งหน้าตาและรูปร่างพระ/และส่วนประกอบของพระ/นับแต่โบราณการณ์
ดังนั้นผู้ที่สนใจพระเครื่องนี้ต้องยึดแบบที่สวยงามไว้โดยศึกษาจาก:
๑.รูปหน้าตาของพระให้ดี/รูปออกผลมะตูม/หน้าตา/หู/จมูก/ปาก
๒.เนื้อพระ/เนื้อดินละเอียดผสมน้ำว่านเพราะทำให้พระคงทน/นวดผสมกันดี/มักมีแร่ธาตุ
๓.พระคงสุมไฟมิได้เผาเป็นแน่แท้/เหตุเพราะองค์พระเล็กนิดเดียว/จำนวนนับพันๆองค์ก็กองนิดเดียว/องค์ไหนถูกไฟนานๆก็จะหดตัวมากๆ/มีคราบที่เรียกว่าplastic coat เคลือบอยู่/องค์ไหนถูกไฟน้อยก็ดูองค์ใหญ่/เนื้อดินดิบ/มีหลายสีแล้วแต่สภาพที่ถูกไฟสุม
๔.เมื่อมีการบรรจุในกรุก็มักมีคราบเกาะอยู่/ทั้งนี้เพราะความร้อน/ระยะเวลา/ความชื้น/ความเย็น/ละอองฝุ่น/เหล่านี้ล้วนมีผลต่อองค์พระทั้งสิ้น/ทำให้พระแตกต่างกันไป
๕.ความแกร่งแข็งของพระต้องมี/มีเสียงกังวาลเมื่อกระทบกับพวกถ้วยชามภาชนะเคลือบเผา
๖.พระรอด/พระคงให้สังเกตที่นิ้วมือข้างขวาโดยมากจะชัด/ถ้าคล้ายนวมควรห่างไว้ก่อน/หรือเช่าในราคาถูกๆ

ม.โชคชัย ทรงเสี่ยงไชย

ภาพประกอบ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น